สำนักงานสีเขียว

Green Office

g2

การดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2565

หมวด/ตัวชี้วัดเอกสารอ้างอิง
1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม
1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน
(1) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน
(2) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน
1.1.1 ขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน และขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน.pdf
1.1.2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์สำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
(1) การปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง
(2) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อ/จัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(3) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(4) การสร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง
1.1.2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม.pdf
1.1.3 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมจากผู้บริหารระดับสูง
(1) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด/ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ
(2) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน
(3) ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ จะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน
(4) ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ จะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน
1.1.3 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ 017-65.pdf
1.1.3 ผังโครงสร้างคณะกรรมการฯ.pdf
1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวประจำปี
(1) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบถ้วนทุกหมวด
(2) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินการของแต่ละหมวด
(3) มีการกำหนดแผนดำเนินการเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร
1.1.4 แผนการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวประจำปี65.pdf
1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน ด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซเรือนกระจก ดังนี้
(1) การใช้ไฟฟ้า
(2) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
(3) การใช้น้ำ
(4) การใช้กระดาษ
(5) ปริมาณของเสีย
(6) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก
1.1.5 เป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม 64.pdf
1.1.5 เป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม 65.pdf
1.2 คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม
1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้
(1) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติโดยคณะกรรมการ/ทีมงาน จะต้องครอบคลุมทุกหมวด และบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน
(2) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่รับผิดชอบของคณะกรรมการอย่างชัดเจน
1.2.1 (1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ.pdf
1.2.1 (2) ผังโครงสร้างคณะกรรมการฯ 2564.pdf
1.2.1 ผังโครงสร้างคณะกรรมการฯ 2565.pdf
1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ รับผิดชอบประเมินจากการสุ่มสอบถาม ดังนี้
(1) ประธาน/หัวหน้า
(2) คณะกรรมการ/ทีมงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบทุกหมวด (สามารถมอบหมายให้ผู้ตรวจประเมินแต่ละหมวดสุ่มสอบถามได้)
1.2.2 แบบสุมสอบถามบทบาทหน้าที่คณะทำงานสำนักงานสีเขียว.pdf
1.3 การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
1.3.1 กิจกรรมทั้งหมดของสำนักงานภายใต้ขอบเขตการขอการรับรองสำนักงานสีเขียวจะต้องได้รับการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม
(1) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงานครบถ้วน
(2) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบเหมาะสมและมีความเข้าใจ
(3) ระบุการใช้พลังงาน ทรัพยากร วัตถุดิบ มลพิษและของเสียของแต่ละกิจกรรมจะต้องครบถ้วน
(4) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรงและทางอ้อมครบถ้วน
(5) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะปกติ ผิดปกติและฉุกเฉินครบถ้วน
(6) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้นๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง
(7) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม
(8) มีหลักฐานการกำหนดระยะเวลาในการทบทวน การระบุประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(9) กรณีมีการปรับแผน/กิจกรรม หรือมีกิจกรรมเพิ่มเติม (เช่น มีแผนที่จะก่อสร้างอาคาร หรือเพิ่มเติมกิจกรรมของสำนักงานในอนาคตอันใกล้ เป็นต้น) จะต้องระบุกิจกรรมดังกล่าวด้วย (ถ้ามี)
1.3.1 (1) ตารางวิเคราะห์กระบวนการทำงาน.pdf
1.3.2 การวิเคราะห์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ
(1) มีสรุปรายการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ
(2) กำหนดมาตรการคู่มือ/แนวทางปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ
(3) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญมีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ/แนวทางการแก้ไขครบถ้วน
(4) กำหนดมาตรการคู่มือ/แนวทางปฏิบัติ เพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉิน
(5) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉินมีการดำเนินการตามมาตรการคู่มือ/แนวทางการป้องกันครบถ้วน
1.3.2 (2) ทะเบียนจัดลำดับปัญหาสิ่งแวดล้อม (Input) ที่มีนัยสำคัญ.pdf
1.3.2 (3) ทะเบียนจัดลำดับปัญหาสิ่งแวดล้อม (Output) ที่มีนัยสำคัญ.pdf
1.3.2 (4) จัดลำดับ Output.pdf
1.3.2 (4)จัดสำดับ Input.pdf
1.4 กฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.4.1 มีการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสำนักงาน โดยมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้
(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
(2) จัดทำรายการกฎหมายที่ครอบคลุมปัญหาสิ่งแวดล้อมและบริบทของสำนักงาน
(3) สามารถระบุแหล่งที่มาของกฎหมายและข้อกำหนดข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้
(4) สามารถระบุความเกี่ยวข้องของกฎหมายกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมได้
(5) กฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นปัจจุบัน
(6) มีการรวบรวมและทบทวนกฎหมายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
หมายเหตุ: สำนักงานจะต้องค้นหากฎหมายท้องถิ่นเพิ่มเติม
1.4 บันทึกทะเบียนกฎหมายและข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อม.pdf
1.4.2 ประเมินความสอดคล้องของกฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน โดยมีการดำเนินการดังนี้
(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายกับการดำเนินงานการจัดการสิ่งแวดล้อม
(2) มีการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายครบถ้วน
(3) มีการอ้างอิงหลักฐานการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างครบถ้วนและถูกต้อง
กรณีที่พบว่าการดำเนินงานไม่สอดคล้องกับกฎหมาย จะต้องมีการวิเคราะห์สาเหตุและกำหนดแนวทางแก้ไข (ถ้ามี)
(4) มีการกำหนดความถี่ในการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ที่เหมาะสมและมีการปฏิบัติตามที่กำหนดให้
1.5 ข้อมูลก๊าซเรือนกระจก
1.5.1 การเก็บข้อมูลก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมในสำนักงาน ประกอบด้วย
(1) ปริมาณการใช้ไฟฟ้า
(2) ปริมาณการใช้เชื้อเพลงสำหรับการเดินทาง
(3) ปริมาณการใช้น้ำประปา
(4) ปริมาณการใช้กระดาษ
(5) ปริมาณการเกิดของเสีย (ผังกลบ)
โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Emission Factor: EF) ขององค์การบริหารก๊าซเรือนกระจกล่าสุด
1.5.1 (1) ข้อมูลก๊าซเรือนกระจกปี 64.pdf
1.5.2 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกบรรลุเป้าหมาย
กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการวิเคราะห์สาเหตุในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย
(2) มีแนวทางการแก้ไขในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย
(3) มีการติดตามผลหลังแก้ไข
1.5.2 ปริมาณก๊าซเรือนกระจก คณะสหเวชศาสตร์63-64-65.xlsx
1.5.3 ร้อยละของพนักงานมีความเข้าใจและการรับรู้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงาน โดยจะสอบถามดังนี้
(1) ความสำคัญของก๊าซเรือนกระจกกับการทำสำนักงานสีเขียว
(2) แนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
(3) ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของสำนักงานเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย
หมายเหตุ:
- พนักงานที่ถูกสอบถามจะต้องอธิบายให้ได้ทั้ง 3 ข้อ
- สอบถามพนักงาน 4 คนขึ้นไป
1.6 แผนงานโครงการที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
1.6.1 การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการสิ่งแวดล้อม จะต้องดำเนินการดังนี้
(1) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย จะต้องสอดคล้องกับนโยบายสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ หรือกฎหมายสิ่งแวดล้อม
(2) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย สามารถวัดผลได้
(3) กิจกรรม/นวัตกรรมที่กำหนดในโครงการสิ่งแวดล้อมมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
(4) ระยะเวลาการทำโครงการมีความเหมาะสม
(5) โครงการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจนและจะต้องมีความเข้าใจ
1.6.2 ผลสำเร็จของวัตถุประสงค์และเป้าหมาย แนวทางการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
(1) มีแผนการดำเนินโครงการหรือนวัตกรรมที่ชัดเจน
(2) ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง
(3) มีการกำหนดความถี่ในการติดตามผลและปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง
(4) มีการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ
(5) ดำเนินการเสร็จสิ้นและบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด ในกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมายมีการทบทวนเพื่อหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข
(6) มีการกำหนดแนวทางเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน หลังบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
1.6.2 (2) รายงานผลการดำเนินการตามแผนสำนักงานสีเขียว.pdf
1.6.2 ผลการดำเนินโครงการแผนงานการจัดการสิ่งแวดล้อม.pdf
1.6.2 แผนดำเนินโครงการ.pdf
1.6.2 แผนและผลการดำเนินการตามแผน5ส.pdf
1.6.2 แผนและผลการดำเนินการตามแผนAHSUP.pdf
1.6.2 แผนและผลการดำเนินการตามแผนเครื่องปรับอากาศ.pdf
1.6.2 แผนและผลการดำเนินการตามแผนเพิ่มพื้นที่สีเขียว.pdf
1.7 การตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน (สำหรับหน่วยงานต่ออายุ)
1.7.1 การวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน
(1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน ประกอบด้วย หัวหน้าผู้ตรวจประเมินและผู้ตรวจประเมิน ซึ่งจะต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และหลักสูตรการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(3) มีการจัดทำกำหนดการตรวจประเมินภายในครอบคลุมทุกหมวด
(4) กำหนดผู้ตรวจประเมินภายในแต่ละหมวดมีความเพียงพอและเหมาะสม มีความเป็นอิสระในการตรวจประเมินอย่างชัดเจน
(5) การดำเนินการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายในสำนักงานครบถ้วนทุกหมวด
1.7 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินภายใน.pdf
1.7 ผลการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายใน-2565 สหเวช.pdf
1.7 ภาพการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียวภายใน คณะสหเวชศาสตร์ ปี 2565.pdf
1.8 การทบทวนฝ่ายบริหาร
1.8.1 การกำหนดองค์ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร
(1) มีผู้บริหารเข้าร่วมประชุม
(2) มีตัวแทนของแต่ละฝ่าย/แผนก/ส่วนงานที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม
(3) จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมจะต้องมากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนผู้ที่เป็นคณะกรรมการสำนักงานสีเขียว พร้อมหลักฐานการลงนามเข้าร่วมประชุม
(4) หากผู้ที่จะต้องเข้าประชุมไม่สามารถเข้าร่วมได้ จะต้องมีวิธีการรายงานผลการประชุมให้รับทราบ พร้อมรับข้อเสนอแนะ
1.8.2 มีการกำหนดวาระการประชุม และทำการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร ดังนี้
(1) มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(2) วาระที่ 1 : การติดตามผลการดำเนินงานปรับปรุงระบบที่ผ่านมา
(3) วาระที่ 2 : นโยบายสิ่งแวดล้อม
(4) วาระที่ 3 : ความมีประสิทธิภาพของคณะกรรมการ/ทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม (ความเพียงพอและความเหมาะสม)
(5) วาระที่ 4 : การติดตามผลการดำเนินงานด้าน สิ่งแวดล้อม การสื่อสารและข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงแนวทางการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนา
(6) วาระที่ 5 : การเปลี่ยนแปลงที่จะส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม
(7) วาระที่ 6 : ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม วิสัยทัศน์ และแนวคิดของผู้บริหารของการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวอย่างต่อเนื่อง
(8) จัดทำรายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร และภาพถ่ายที่แสดงให้เห็นว่ามีการประชุมจริง
หมวด/ตัวชี้วัดเอกสารอ้างอิง
2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ
2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม
(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้
- ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว
- การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
- การจัดการมลพิษและของเสีย
- การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- ก๊าซเรือนกระจก
- อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การฝึกซ้อมตามแผนฉุกเฉินเพื่อป้องกันและระงับเหตุอัคคีภัยและแผ่นดินไหว" ประจำปี 2564
(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น
(4) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน
2.1.1 (1) หลักสูตรและแผนการฝึกอบรมประจำปี 2565
2.1.1 (2) ใบลงทะเบียน
2.1.1 (2) ใบประเมินผลการอบรมการคัดแยกขยะเพื่อการนำกลับมาใช้ประโยชน์
2.1.1 (3) ประวัติผู้เข้าอบรม
2.1.1 (4) อบรมเตรียมความพร้อมเพื่อมุ่งสู่สำนักงานสีเขียว
2.1.1 (4) Work Shop การคัดแยกขยะ
2.1.1 (4) กิจกรรมอบรมซ้อมแผนป้องกันอัคคีภัยในสำนักงานและห้องปฏิบัติการ
2.1.1 (4) อบรมรณรงค์ประหยัดพลังงานและสร้างจิตสำนึกการประหยัดพลังงาน
2.1.1 (4) โครงการ-สำนักงานสีเขียว
2.1.1 (4) โครงการอบรมการคัดแยกขยะ
2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม
(1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องเข้าใจเนื้อหาในการอบรม
(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก ประวัติ ประสบการณ์
2.1.2 ประวัติวิทยากร-ดร.เจษ290964
2.1.2 ประวัติวิทยากร-ปรัชญ์
2.1.2 ประวัติวิทยากร-สยาม
2.1.2 ประวัติวิทยากร-อัคคีภัย
2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน
2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน
(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้
หัวข้อ
ความถี่
1. นโยบายสิ่งแวดล้อม
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
3. การปฏิบัติตามกฎหมาย
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
4. ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.)
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
5. เป้าหมายและมาตรการพลังงานและทรัพยากร (ได้แก่ น้ำประปา ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และอื่นๆ)
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
6. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
7. ผลการใช้ทรัพยากร พลังงานและของเสีย
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
8. สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
9. ก๊าซเรือนกระจก
ทุกเดือน
(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน)
(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร
2.2.1 (1) แผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อม 2565
2.2.1 (2-4) ช่องทางการสื่อสาร ของคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
2.2.1(2) แผนการจัดกิจกรรม
2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1
2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1(1)
2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้
(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น Line, QR Code การประชุมเว็บไซต์
(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
(4) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการจัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้เหมาะสม)
2.2.2 การรณรงค์สื่อสารให้ความรู้ (ตามแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อม 1-9 ข้อ)
2.2.3 ผลคะแนนแบบประเมินความเข้าใจของคณะทำงานสำนักงานสีเขียว
2.2.4 ช่องทางรับข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม (1-3)
หมวด/ตัวชี้วัดเอกสารอ้างอิง
3.1 การใช้น้ำ
3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย
(1) การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ
(2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น
(3) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่
(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ
3.1.1 เอกสารอ้างอิง.pdf
3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
3.1.2 เอกสารอ้างอิง.pdf

เอกสารแสดงนิสิตเข้ามาใช้พื้นที่สำนักงานสีเขียว.pdf
3.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
3.2 การใช้พลังงาน
3.2.1 มาตรการหรือแนวทางใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย
(1) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า
(2) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด–ปิด เป็นต้น
(3) การใช้พลังงานทดแทน
(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
3.2.1 เอกสารอ้างอิง.pdf
3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย เปรียบเทียบกับเป้าหมาย
กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
3.2.2 เอกสารอ้างอิง.pdf

เอกสารแสดงนิสิตเข้ามาใช้พื้นที่สำนักงานสีเขียว.pdf
3.2.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน
3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย
(1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(2) การวางแผนการเดินทาง
(3) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ
3.2.4 เอกสารอ้างอิง.pdf
3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย
กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ หรือเปรียบเทียบต่อระยะทาง เป็นต้น
3.2.5 เอกสารอ้างอิง.pdf
3.3 การใช้ทรัพยากรอื่นๆ
3.3.1 มาตรการ/แนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย
(1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ
(2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ
(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
(4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
3.3.1 เอกสารอ้างอิง.pdf
3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วย เปรียบเทียบกับเป้าหมาย
กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
3.3.2 เอกสารอ้างอิง.pdf
3.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
3.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย
(1) การสร้างความตระหนักในการใช้
(2) การกำหนดรูปแบบการใช้
(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
3.3.4 เอกสารอ้างอิง.pdf
3.3.5 ร้อยละของการดำเนินตามมาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
3.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ
3.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม ได้แก่ QR Code อีเมล์ สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) อินทราเน็ต เป็นต้น3.4 3.4.1 3.4.2 เอกสารอ้างอิง.pdf
3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากรพลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น ประกอบด้วย
(1) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุมเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุมหรือจัดนิทรรศการ
(2) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก/วัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
(3) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(4) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลดการใช้กระดาษและหมึกพิมพ์
(5) การจัดเตรียมอาหารและเครื่องดื่มที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หมวด/ตัวชี้วัดเอกสารอ้างอิง
4.1 การจัดการของเสีย
4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัดขยะอย่างเหมาะสม ดังนี้
(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานอย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ
(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ (1) อย่างเพียงพอ จุดพักขยะจะต้องมีที่ปิดมิดชิด ป้องกันน้ำขยะไหล
(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)
(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน
4.1.1 การจัดการของเสียในสำนักงาน
4.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์/นำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง
(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน
(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1
(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง
4.1.2 การจัดการของเสียในสำนักงาน
4.2 การจัดการน้ำเสีย
4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงานและคุณภาพน้ำทิ้ง จะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยมีแนวทางดังนี้
(1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล
(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรงดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย
(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย
(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
4.2.1 การจัดการน้ำเสีย
4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้
(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหารและไขมันออกจากตะแกรงดักขยะหรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน
(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง
(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุงซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
(4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ
4.2.2 การจัดการน้ำเสีย
หมวดตัวชี้วัดเอกสารอ้างอิง
5.1 อากาศในสำนักงาน
5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน
(1) มีแผนการดูแลรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน)
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตาม แผนการดูแลรักษา
(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดในข้อ 1
(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1
(5) การจัดวางเครื่องปริ้นเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสารให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน
(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์
(7) การป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษ อากาศภายในสำนักงาน (ถ้ามี)
(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรมต่างๆ เพื่อการเตรียม ความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย (สามารถพิจารณาจากเอกสารหรือภาพถ่ายเป็นหลักฐานประกอบ)
เอกสารอ้างอิง


5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมีการกำหนด พื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสมและปฏิบัติตามที่กำหนด
(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่
(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่
(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่
(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ประชาชนที่อยู่บริเวณข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า-ออกของสถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น
(5) ไม่พบการสูบบุหรี่หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่
เอกสารอ้างอิง
5.1.3 การจัดการมลพิษอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษ อากาศจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1)
แนวทางการกำหนดมาตรการ มีดังนี้
- มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงานมีที่กั้นเพื่อกันมลพิษทางอากาศกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
- มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
เอกสารอ้างอิง
5.2 แสงในสำนักงาน
5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มแสงที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด
(1) มีการตรวจวัดความเข้มแสงประจำปีพร้อม แสดงหลักฐานผลการตรวจวัดแสงเฉพาะจุดทำงานและพื้นที่ทำงาน
(2) เครื่องวัดแสงจะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง)
(3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด
(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มแสงจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
เอกสารอ้างอิง
5.3 เสียง
5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
เอกสารอ้างอิง
5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน
(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายนอกสำนักงาน
แนวทางการกำหนดมาตรการ มีดังนี้
- มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน
- มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
เอกสารอ้างอิง
5.4 ความน่าอยู่
5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของสำนักงาน โดยจะต้องดำเนินการดังนี้
(1) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวมและพื้นที่ทำงาน เป็นต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรืออื่นๆ ที่เหมาะสม เพื่อบ่งชี้
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร
(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไปทั้งในอาคารและนอกอาคาร
(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงานรวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน
เอกสารอ้างอิง


5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด เอกสารอ้างอิง
5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่างๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้นเอกสารอ้างอิง
5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด
(1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างน้อยที่สุด เดือนละ 1 ครั้ง
(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน)
(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค
(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์นำโรคในระหว่างการตรวจประเมินของกรมฯ
หมายเหตุ: การควบคุมสัตว์พาหะนำโรค สำนักงานสามารถควบคุมและจัดการได้เอง หรือว่าจ้างหน่วยงานเฉพาะมาดำเนินการแทน
เอกสารอ้างอิง
5.5 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน
5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด
(1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ
(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้น จะต้องไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 40 ของพนักงานทั้งหมด
(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น
(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น
(6) มีการจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน
(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน
(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน
เอกสารอ้างอิง

แบบฟอร์ม2.1(1)แผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในสำนักงาน



5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)เอกสารอ้างอิง


5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของ อุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของ พนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)
(1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง
- ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่างอย่างน้อย 20 เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจาก พื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตร นับจากคันบีบ และถ้าเป็นวางกับพื้นที่จะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติดป้ายแสดง
- ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)
- สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสายฉีด (Hose and Hose Station) ถ้ามี
(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน
- สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่มากกว่า 300 ตารางเมตรหรืออาคาร สูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป)
- ติดตั้งตัวดักจับควัน (Smoke Detector) หรือความร้อน (Heat Detector)
(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) - (2) และหากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการแจ้งซ่อมและแก้ไข
(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้ และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและสัญญาณแจ้ง เตือนอย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม
(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
เอกสารอ้างอิง
เอกสารแนบเพิ่มเติมแบบฟอร์ม 5.1(1)แผนการบำรุงรักษา ปี 2565
แบบฟอร์ม2.1(1)แผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในสำนักงาน
แบบฟอร์ม 5.4 (1)แผนการดูแลพื้นที่สำนักงานสีเขียว
แบบฟอร์ม5.4(2)แผนการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค
แบบฟอร์ม5.4(3)รายงานการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค
แบบฟอร์ม5.5(1)แผนฉุกเฉิน
หลักฐาน5.5.1แบบรายงานผลการดำเนินกิจกรรมอบรมซ้อมแผนป้องกันอัคคีภัยในสำนักงานและห้องปฏิบัติการ
แบบฟอร์ม5.5(2)รายงานตรวจสอบถังดับเพลิง ประจำปี 2565
ตารางทำความสะอาด
รายงานตรวจสอบร่องรอยสัตว์
หมวด/ตัวชี้วัดเอกสารอ้างอิง
6.1 การจัดซื้อสินค้า
6.1.1 การจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1) กำหนดผู้รับผิดชอบและมีความเข้าใจ
(2) ค้นหารายการสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสามารถระบุแหล่งข้อมูลสืบค้นได้
(3) จัดทำบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสินค้าที่ใช้จริงในสำนักงาน โดยจะต้องระบุรายการสินค้า ยี่ห้อ ฉลากสิ่งแวดล้อม วันหมดอายุ การรับรองของสินค้านั้น หากเป็นฉลากสิ่งแวดล้อมของต่างประเทศ จะต้องอ้างอิงหน่วยงาน/ประเทศที่ให้การรับรองนั้นๆ ด้วย
(4) แจ้งไปยังผู้ขายเพื่อขอความร่วมมือในการสั่งซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กรณีที่ไม่มีร้านค้าที่จำหน่ายสินค้าทีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หมายเหตุ: สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจะต้องเป็นสินค้าที่ได้รับการรับรองจากสถาบันที่เป็นที่ยอมรับ เช่น ฉลากเขียว ตะกร้าเขียว ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ฉลากประสิทธิภาพสูง ฉลากคาร์บอนฟุตปริ้นท์ ฉลากลดโลกร้อน สินค้า OTOP ที่มีเลขจดทะเบียน ฉลากสิ่งแวดล้อมของต่างประเทศ เป็นต้น
6.1.1 Flow-chart-ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง.pdf
6.1.1 กำหนดผู้รับผิดชอบ การจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แนบอันนี้.pdf
6.1.1 กำหนดผู้รับผิดชอบ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบระบบ Microsoft Dynamic AX2009.pdf
6.1.1 ขอความร่วมมือในการเสนอรายการสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม.pdf
6.1.1 ค้นหารายการสินค้าและแหล่งการสืบค้นรายการสินค้า.pdf
6.1.1 แผนการดำเนินการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2565.pdf

6.1.1 บัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
กระดาษชำระ.pdf
กระดาษถ่ายเอกสาร.pdf
ตลับหมึก.pdf
ปากกาไวท์บอร์ด.pdf
ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดถ้วยชาม.pdf
ผลิตภัณฑ์ลบคำผิด.pdf
เครื่องพิมพ์.pdf
เครื่องเรือนเหล็ก.pdf
แบตเตอรี่ปฐมภูมิ.pdf
6.1.2 ร้อยละของการจัดซื้อสินค้าประเภทวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หมายเหตุ: ร้อยละของสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจะเทียบกับปริมาณการซื้อ และ/หรือ มูลค่าสินค้า
(1) แสดงรายการสินค้าสำนักงานที่จัดซื้อทั้งหมด โดยระบุยี่ห้อและรุ่นสินค้า
(2) แสดงฉลากที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของสินค้า
(3) คำนวณจำนวนร้อยละสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงรายการสินค้า ปริมาณสินค้า และมูลค่า
หมายเหตุ: สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจะต้องเป็นสินค้าที่ได้รับการรับรองจากสถาบันที่เป็นที่ยอมรับ เช่น ฉลากเขียว ตะกร้าเขียว ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ฉลากประสิทธิภาพสูง ฉลากคาร์บอนฟุตปริ้นท์ ฉลากลดโลกร้อน สินค้า OTOP ที่มีเลขจดทะเบียน ฉลากสิ่งแวดล้อมของต่างประเทศ เป็นต้น
6.1.2 แบบรายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม.pdf
6.1.3 ร้อยละของปริมาณและประเภทของวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หมายเหตุ: สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจะต้องเป็นสินค้าที่ได้รับการรับรองจากสถาบันที่เป็นที่ยอมรับ เช่น ฉลากเขียว ตะกร้าเขียว ฉลากประหยัดไฟ เบอร์ 5 ฉลากประสิทธิภาพสูง ฉลากคาร์บอนฟุตปริ้นท์ ฉลากลดโลกร้อน สินค้า OTOP ที่มีเลขจดทะเบียน ฉลากสิ่งแวดล้อมของต่างประเทศ เป็นต้น
6.1.3 วัสดุอุปกรณ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม.pdf
6.2 การจัดจ้าง
6.2.1 ร้อยละของการจัดจ้างหน่วยงานหรือบุคคลที่มีการดำเนินงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(1) มีหลักฐานการพิจารณาถึงมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน ที่ได้การรับรองโดยจะต้องแสดงหลักฐานการรับรองดังกล่าว
(2) หากหน่วยงานไม่มีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรอง ทางสำนักงานจะต้องทำการประเมินด้านสิ่งแวดล้อมของหน่วยเบื้องต้น
(3) มีการจัดทำสัญญาหรือข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม เมื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสำนักงาน
(4) หน่วยงานหรือบุคคลที่ได้รับคัดเลือกจะต้องได้รับการอบรมหรือสื่อสารเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว และแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเอง
(5) หน่วยงานหรือบุคคลเหล่านั้นสามารถอธิบายแนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเองได้
หมายเหตุ:
- หากหน่วยงานภายนอกมีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรองจะต้องพิจารณาทุกข้อ ยกเว้นข้อ (2)
- หากหน่วยงานภายนอกไม่มีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรองพิจารณาข้อ (2) - (5)
6.2.1 พนักงานได้รับการฝึกอบรมด้านการป้องกันอัคคีภัย การใช้ทรัพยาการ การจัดการขยะ อย่างมีประสิทธิภาพ.pdf
6.2.1 มาตรการในการทำสัญญาก่อสร้างของผู้ประกอบการ.pdf
6.2.1 รายงานการจ้างบริการหน่วยงานภายนอกของคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา.pdf
6.2.1 หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกสถานที่จัดประชุม.pdf
6.2.1 หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกหรือจัดหาบริการทำความสะอาดในสำนักงาน.pdf

6.2.1 ข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสำนักงาน
ชาติเซอร์วิส.pdf
ถานการช่าง.pdf
นายณรงค์ บุญทาทอง.pdf
พนักงานขับรถคู้.pdf
พนักงานรักษาความปลอดภัย.pdf
ลันตา.pdf
แม่บ้าน.pdf
6.2.2 ร้อยละของการตรวจสอบด้านการดูแลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ปฏิบัติงานของหน่วยงาน หรือบุคคลที่เข้ามาดำเนินการ เช่น ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างช่วงแม่บ้าน รปภ. พนักงานส่งเอกสาร เป็นต้น
หมายเหตุ:
- กรณีที่เป็นการว่าจ้างให้อยู่ประจำสำนักงานจะต้องทำการประเมินอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
- กรณีที่เป็นการว่าจ้างไม่อยู่ประจำสำนักงานจะต้องทำการประเมินทุกครั้งเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสำนักงาน
6.2.2 แบบประเมินประสิทธิภาพผู้รับจ้างช่วง (การว่าจ้างอยู่ประจำ) แม่บ้าน รปภ. พนักงานขับรถ
นางนันทนี ปิงยศ.pdf
นางบัวแก้ว ไชยปัญญา.pdf
นางสาวเปมิกา เงินเย็น.pdf
นางแสงคำ งามจิตต์.pdf
นายกฤษดา คำเข่ง.pdf
นายนิรุตต์ ดวงแก้ว.pdf
นายวิชัย เฉพาะธรรม.pdf

6.2.2 แบบประเมินประสิทธิภาพผู้รับจ้างช่วง (การว่าจ้างไม่อยู่ประจำ)
นายณรงค์ บุญทาทอง.pdf
ร้านชาติเซอร์วิส.pdf
ร้านถานการช่าง.pdf
ร้านลันตาสปอร์ต.pdf
6.2.3 ร้อยละของการเลือกใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (นอกสำนักงาน) ได้แก่ โรงแรม สถานที่จัดงานหรืออื่นๆ ที่ได้มีการขึ้นทะเบียนการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หมายเหตุ:
- สถานที่ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี เช่น ISO14001 Green Hotel ใบไม้สีเขียว ฉลากสีเขียว Green Office หรือ Green Building เป็นต้น และมีการจัดการประชุมที่คำนึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน และลดการก่อให้เกิดมลพิษในกรณีที่ไม่มีสถานที่จัดประชุมที่ได้รับการรับรองฯ อยู่ในบริเวณใกล้เคียงสำนักงานจะต้องเลือกสถานที่ที่ใช้เวลาเดินทางน้อยที่สุดและจัดประชุมในรูปแบบ Green Meeting (ตามความเหมาะสมและเป็นไปได้) โดยจะต้องแสดงหลักฐานการคัดเลือกสถานที่เหล่านั้น
6.2.3 ข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมของโรงแรม.pdf
6.2.3 บัญชีรายชื่อโรงแรมในจังหวัดพะเยา.pdf
6.2.3 หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกสถานที่จัดประชุม.pdf
6.2.3 แบบฟอร์มการคัดเลือกสถานที่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม.pdf

6.2.3 บัญชีรายชื่อโรงแรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
กรุงเทพ.pdf
เชียงราย.pdf
เชียงใหม่.pdf
น่าน.pdf
นนทบุรี.pdf
พิษณุโลก.pdf
ภูเก็ต.pdf