หลักสูตรการเตรียมตัวเข้าสู่สูงวัยอย่างมีศักยภาพ (The Preparation for Entering the Active Ageing)

หลักสูตรระยะสั้น (Non-degree program)

ชื่อหลักสูตร

ชื่อหลักสูตรภาษาไทย     :  การเตรียมตัวเข้าสู่สูงวัยอย่างมีศักยภาพ

ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ  :  The Preparation for Entering the Active Ageing

ชื่อประกาศนียบัตร

การเตรียมตัวเข้าสู่สูงวัยอย่างมีศักยภาพ (The Preparation for Entering the Active Ageing)

จำนวนชั่วโมงในการเรียนตามหลักสูตร

จำนวน 66 ชั่วโมง แบ่งเป็นภาคบรรยาย 16 ชั่วโมง และปฏิบัติการ 50 ชั่วโมง

รูปแบบของหลักสูตร

หลักสูตรระยะสั้น (Non-degree program)

จำนวนการรับผู้เรียน
  • นิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 60 คน
  • บุคคลทั่วไป จำนวน 20 คน
แผนการจัดการเรียนการสอน

จัดการเรียนการสอนในช่วงเดือน มิถุนายน-สิงหาคม 2564

คุณสมบัติของผู้เรียน
  • นิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยพะเยา
  • บุคคลทั่วไปที่มีความสนใจ
การสะสมและเทียบโอนหน่วยกิต

สามารถสะสมผลการเรียนรู้ และเทียบโอนได้กับรายวิชาที่มีเนื้อหาที่สอดคล้องกัน

ผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้ (Learning Outcomes) เนื้อหาที่เรียน
(Course Content)
ระยะเวลา

(สัปดาห์ที่/จำนวนชั่วโมง)

วิธีการจัดการเรียนรู้ (Learning Process) ผู้สอนและวิทยากรพิเศษ วันที่สอน/เวลา
1. ผู้เรียนสามารถวางแผนดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตเมื่อเข้าสู่สูงวัย 1.1 บทนำ

-การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเมื่อเข้าสู่สูงวัย

– โรคที่พบบ่อยเมื่อเข้าสู่สูงวัย เช่น

โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน

โรคไขมันในเลือดสูง

โรคข้อเสื่อม เช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก เป็นต้น

-การวางแผนดูแลสุขภาพกายและจิตทั่วไป

-แนวทางการวางแผนดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆก่อนเข้าสู่สูงวัย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน

โรคไขมันในเลือดสูง

โรคข้อเสื่อม

สัปดาห์ที่ 1

บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่าง

กรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

-ทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังเรียน

 

อ.ดร.กภ.พัชรียา อัมพุธ 2 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น)

ปฏิบัติการ 1 ชั่วโมง -แบ่งกลุ่มผู้เรียน กลุ่มละ 6-10 คน เพื่อเขียนแผนการดูแลสุขภาพทั่วไปก่อนเข้าสู่สูงวัยพร้อมนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน กลุ่มละประมาณ 10-15 นาที อ.ดร.กภ.พัชรียา อัมพุธ

และคณาจารย์

2 กรกฏาคม 2564

(18.00-19.00 น)

1.2 โภชนาการในผู้สูงวัย สัปดาห์ที่ 2

บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่าง

กรณีศึกษา 1 ชั่วโมง

วิทยากรพิเศษจากคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ 5 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฎิบัติการ 3 ชั่วโมง -แบ่งกลุ่มผู้เรียน กลุ่มละ 6-10 คน เพื่อฝึกปฏิบัติการจัดอาหารสำหรับผู้สูงอายุตามสถาณการณ์จำลองที่กำหนดให้พร้อมนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน กลุ่มละประมาณ 10-15 นาที

-ทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังเรียน

วิทยากรพิเศษจากคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์

และคณาจารย์

5 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

1.3 ยารักษาโรคแผนปัจจุบันกับผู้สูงวัย สัปดาห์ที่ 3

บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.เบญจมาศ  สุระเดช 7 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง -แบ่งกลุ่ม 5-10 คน เพื่อฝึกการ

วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับยารักษาโรคแผนปัจจุบันกับผู้สูงวัย

-นำเสนอแผนการเลือกใช้ยาเพื่อรักษาโรคแผนปัจจุบัน

-ทำแบบฝึกหัด

อ.ดร.เบญจมาศ  สุระเดช

และคณาจารย์

7 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

1.4 สมุนไพร และอาหารเสริมกับผู้สูงวัย สัปดาห์ที่ 4

บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.เบญจมาศ สุระเดช 9 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง -แบ่งกลุ่ม 5-10 คน เพื่อฝึกการวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับสมุนไพร และอาหารเสริมกับผู้สูงวัย

-นำเสนอหน้าแผนการเลือกใช้ยาสมุนไพรและอาการเสริมกับผู้สูงอายุ

-ทำแบบฝึกหัด

อ.ดร.เบญจมาศ สุระเดช

และคณาจารย์

9 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

1.5 การตรวจและแปลผลทางห้องปฏิบัติการในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) สัปดาห์ที่ 5

บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.ศุภกัญญา ลาสม 12 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง -แบ่งกลุ่ม 5-10 คน เพื่อฝึกการวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการตรวจและแปลผลทางห้องปฏิบัติการในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)

-นำเสนอการวางแผนการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้เหมาะสมกับชนิดของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

-ทำแบบฝึกหัด

อ.ดร.ศุภกัญญา ลาสม

และคณาจารย์

12 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

1.6 การตรวจและแปลผลทางห้องปฏิบัติการในกลุ่มโรคติดต่อและโรคกระดูกและข้อ สัปดาห์ที่ 6

บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.เกษม  สมทะนะ 14 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง

 

-แบ่งกลุ่ม 5-10 คน เพื่อฝึกการวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการตรวจและแปลผลทางห้องปฏิบัติการในกลุ่มโรคติดต่อและโรคกระดูกและข้อ

-นำเสนอวางแผนการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้เหมาะสมกับชนิดของกลุ่มโรคติดต่อและโรคกระดูกและข้อ

-ทำแบบฝึกหัด

อ.ดร.เกษม สมทะนะ

และคณาจารย์

14 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

1.7 การทดสอบสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ สัปดาห์ที่ 7

บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.กภ.อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์ 16 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง -เพื่อฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพกาย

-แปลผลการทดสอบสมรรถภาพกาย

-นำเสนอการวางแผนการทดสอบสมรรถภาพทางกายให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการทดสอบ

อ.กภ.อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์

และคณาจารย์

16 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

1.8 การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ

General exercise

สัปดาห์ที่ 8

บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.สุพรรณิการ์ ลดาวัลย์ 19 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง

 

-แบ่งกลุ่ม สาธิตการออกกำลังกาย

และเลือกวิธีการออกกำลังกายให้เหมาะสมในวัยผู้สูงอายุ

อ.ดร.สุพรรณิการ์ ลดาวัลย์

และคณาจารย์

19 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

1.9 การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะเฉพาะ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ข้อเสื่อม เป็นต้น สัปดาห์ที่ 9

บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.สุพรรณิการ์ ลดาวัลย์ 21 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง

 

-แบ่งกลุ่ม สาธิตการออกกำลังกาย

เลือกวิธีการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับพยาธิสภาพ ของผู้สูงอายุ

อ.ดร.สุพรรณิการ์ ลดาวัลย์

และคณาจารย์

21 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

1.10 Posture ในการทำงาน สัปดาห์ที่ 10 บรรยาย 1 ชั่วโมง -บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.กภ.สินธุพร มหารัญ 23 กรกฏาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง

 

-แบ่งกลุ่ม 5-10 คน วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับ Posture ในการทำงาน

-นำเสนอแผนการดูแล posture ในการทำงานให้สอดคล้องกับลักษณะการทำงาน

อ.ดร.กภ.สินธุพร มหารัญ

และคณาจารย์

23 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

1.11 การดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ สัปดาห์ที่ 11 บรรยาย 1 ชั่วโมง -บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.กภ.สุดารัตน์  สังฆะมณี 30 กรกฏาคม 2564 (17.00-18.00 น.)
ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง

 

-แบ่งกลุ่ม 5-10 คน วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ

-นำเสนอแผนการดูแลสุขภาพจิตให้สอดคล้องกับชนิดของปัญหาสุขภาพจิต

อ.ดร.กภ.สุดารัตน์  สังฆะมณี และคณาจารย์ 30 กรกฏาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

2. ผู้เรียนสามารถวางแผนด้านการเงินก่อนเข้าสู่สูงวัย และทราบกฎหมาย สิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ 2.1 การวางแผนการเงินเพื่อเตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ

2.2 การวิเคราะห์แผนทางด้านการเงินเพื่อเตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ

สัปดาห์ที่ 12 บรรยาย 1 ชั่วโมง -บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

วิทยากรพิเศษ จากคณะบริหารธุรกิจและนิเทศศาสตร์ 2 สิงหาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 5 ชั่วโมง

 

-เขียนแผนการเงินเพื่อเตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ โดยครอบคลุมเนื้อหา การแบ่งหมวดเงิน การออมเงิน การลงทุน รายได้แบบ passive income รายได้แบบ active income การวางแผนใช้จ่าย เป็นต้น

-ผู้เรียนส่งแผนการเงินเพื่อเตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ

วิทยากรพิเศษ จากคณะบริหารธุรกิจและนิเทศศาสตร์ และคณาจารย์ 2 สิงหาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

3 สิงหาคม 2564

(17.00-19.00 น.)

 

2.3 กฎหมายและสิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ

 

สัปดาห์ที่ 13 บรรยาย 1 ชั่วโมง -บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

วิทยากรพิเศษจากคณะนิติศาสตร์

(ผศ.ดร.วิมลเรขา ศิริชัยราวรรณ)

4 สิงหาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง -วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับ กฏหมายและสิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ

-ทำแบบฝึกหัด

วิทยากรพิเศษจากคณะนิติศาสตร์

(ผศ.ดร.วิมลเรขา ศิริชัยราวรรณ)และคณาจารย์

4 สิงหาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

3. ผู้เรียนสามารถวางแผนสร้างอาชีพงานอดิเรกและกิจกรรมนันทนาการ ก่อนเข้าสู่สูงวัย 3.1 การสร้างอาชีพ

 

สัปดาห์ที่ 14

-บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

– อภิปราย ซักถาม

วิทยากรพิเศษจากสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัดพะเยา 6 สิงหาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

-ปฏิบัติการ 4 ชั่วโมง – บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา 1 ชั่วโมง

-แบ่งกลุ่มผู้เรียน จำนวนกลุ่มละ 5-10 คน เพื่อฝึกปฏิบัติการหาความมั่นคงทางรายได้จากการพัฒนาทักษะด้านการสร้างอาชีพอื่น ๆ หรืออาชีพเสริมที่น่าสนใจ 2 ชั่วโมง

-นำเสนอและอธิปราย กลุมละ 15-20 นาที

-ทำแบบฝึกหัด

วิทยากรพิเศษจากสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดพะเยา และคณาจารย์ 6 สิงหาคม 2564

(18.00-22.00 น.)

 

3.2 งานอดิเรกและ

กิจกรรมนันทนาการ

สัปดาห์ที่ 15

-บรรยาย 1 ชั่วโมง

-บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

อ.ดร.พัชรียา อัมพุธ 9 สิงหาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

-ปฏิบัติการ 3 ชั่วโมง -แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-10 คน คิดงานอดิเรกและกิจกรรมนันทนาการที่สนใจ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ที่จะทำกิจกกรรมเหล่านั้นในอนาคต

-นำเสนอหน้าชั้นเรียน อภิปรายและตอบข้อซักถาม กลุ่มละ 20-30 นาที

-ทำแบบฝึกหัด

อ.ดร.พัชรียา อัมพุธ

และคณาจารย์

9 สิงหาคม 2564

(18.00-21.00 น.)

 

4. ผู้เรียนสามารถวางแผนด้านที่อยู่อาศัยก่อนเข้าสู่สูงวัย

 

4.1 วางแผนด้านที่อยู่อาศัยก่อนเข้าสู่สูงวัย

 

สัปดาห์ที่ 16บรรยาย 1 ชั่วโมง -บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา

-อภิปราย ซักถาม

วิทยากรพิเศษจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปศาสตร์

(อ.อัศนัย เล่งอี้)

11 สิงหาคม 2564

(17.00-18.00 น.)

ปฏิบัติการ 4 ชั่วโมง

 

-แบ่งกลุ่มผู้เรียน กลุ่มละ 6-10 คน เพื่อฝึกปฏิบัติการเพื่อร่วมกันวางแผนและออกแบบสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุตามสถาณการณจำลองที่กำหนดให้ ประมาณ 30 นาที

-แล้วนำเสนอและร่วมกับอภิปรายในชั้นเรียนกลุ่มละประมาณ 10-15 นาที

-ทำแบบฝึกหัดก่อนและหลังเรียน

วิทยากรพิเศษจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปศาสตร์ (อ.อัศนัย เล่งอี้) และคณาจารย์ 11 สิงหาคม 2564

(18.00-22.00 น.)

 

หมายเหตุ การจัดการเรียนการสอนแบบปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของชั่วโมงทั้งหมด

แบ่งเป็น 2 section ดังนี้

  1. section 1 สำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา
  2. section 2 สำหรับบุคคลทั่วไป

คณาจารย์ หมายถึง

  1. ดร. สุดารัตน์ สังฆะมณี
  2. ดร. พัชรียา อัมพุธ
  3. ดร. สุพรรณิการ์ ลดาวัลย์
  4. ดร. สินธุพร มหารัญ
  5. ดร. เบญจมาศ สุระเดช
  6. ดร. ศุภกัญญา ลาสม
  7. ดร. เกษม สมทะนะ
  8. อ. อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์
  1. ผู้เรียนสามารถวางแผนดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตเมื่อเข้าสู่สูงวัย
  2. ผู้เรียนสามารถวางแผนด้านการเงินก่อนเข้าสู่สูงวัย และทราบกฎหมาย สิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
  3. ผู้เรียนสามารถวางแผนด้านการสร้างอาชีพ งานอดิเรก และกิจกรรมนันทนาการก่อนเข้าสู่สูงวัย
  4. ผู้เรียนสามารถวางแผนด้านที่อยู่อาศัยก่อนเข้าสู่สูงวัย
การวัดและการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้

1. การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้

ผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้

(Learning Outcomes)

วิธีการวัดผล

(Measurement Method)

เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ)
1. ผู้เรียนสามารถวางแผนดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตเมื่อเข้าสู่สูงวัย

 

– คะแนนจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียนเกี่ยวกับการวางแผนดูแลสุขภาพกายด้านต่างๆและสุขภาพจิตเมื่อเข้าสู่สูงวัย

– คะแนนการประเมินรายละเอียดของแผนการดูแลสุขภาพกายด้านต่างๆและสุขภาพจิตเมื่อเข้าสู่สูงวัย

– คะแนนจากการทำแบบฝึกหัด

15

 

15

 

5

2. ผู้เรียนสามารถวางแผนด้านการเงินก่อนเข้าสู่สูงวัย ทราบกฏหมายและสิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ

 

– คะแนนจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียนเกี่ยวกับการวางแผนด้านการเงินก่อนเข้าสู่สูงวัย

– คะแนนการประเมินรายละเอียดของการวางแผนด้านการเงินก่อนเข้าสู่สูงวัย

– คะแนนจากการทำแบบฝึกหัด

5

 

5

5

3. ผู้เรียนสามารถวางแผนสร้างอาชีพ งานอดิเรกและกิจกรรมนันทนาการก่อนเข้าสู่สูงวัย – คะแนนจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียนเกี่ยวกับการวางแผนสร้างอาชีพ งานอดิเรกและกิจกรรมนันทนาการก่อนเข้าสู่สูงวัย

– คะแนนการประเมินรายละเอียดของการวางแผนสร้างอาชีพ งานอดิเรกและกิจกรรมนันทนาการก่อนเข้าสู่สูงวัย

– คะแนนจากการทำแบบฝึกหัด

10

 

10

 

5

4. ผู้เรียนสามารถวางแผนด้านที่อยู่อาศัยก่อนเข้าสู่สูงวัย – คะแนนจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียนเกี่ยวกับการวางแผนด้านที่อยู่อาศัยก่อนเข้าสู่สูงวัย

– คะแนนการประเมินรายละเอียดของการวางแผนด้านที่อยู่อาศัยก่อนเข้าสู่สูงวัย

– คะแนนจากการทำแบบฝึกหัด

10

 

10

 

5

 

2. การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้

ประเมินผลด้วยตัวอักษร S และ U ทั้งนี้ผู้เข้าอบรมต้องเข้าชั้นเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และมีผลคะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 จึงจะผ่านการอบรมในหลักสูตรนี้

ดาวโหลดรายละเอียดของหลักสูตร

การเตรียมตัวเข้าสู่สูงวัยอย่างมีศักยภาพ (The Preparation for Entering the Active Ageing) (Non-Degree Program)

ปรับปรุงครั้งล่าสุด

15 มิถุนายน 2564